คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา พท12005 ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน
1)  ข้อใดเป็นประโยคคำสั่ง
  ช่วยปิดหน้าต่างให้ด้วย
  โปรดรักษาความสะอาด
  กรุณามาพบตามเวลานัด
  ห้ามพูดคุยและเสียงดังในห้องสมุด
   
2)  มนุษย์มีความจำเป็นต้องอ่านหนังสือเพราะเหตุใด
  ต้องการเป็นคนทันสมัย
  ต้องการติดต่อสื่อความหมายกัน
  ต้องเรียนรู้เรื่องราวต่างๆเพื่อการดำรงชีวิต
  ต้องการเป็นที่ยอมรับและยกย่องของบุคคลในสังคม
   
3)  คำในข้อใดไม่ใช่คำนาม
  จดหมาย
  แช่มช้อย
  นายแพทย์
  สถานีตำรวจ
   
4)  การพูดในที่ประชุมควรใช้สายตามองที่ใด
  1. มองผู้ที่เป็นประธานอยู่ตลอดเวลา
  2. มองเฉพาะคนนั่งด้านหน้าของผู้พูด
  3. พยายามกวาดสายตามองผู้ฟังให้ทั่วถึง
  4. มองคนที่ตนรู้จักเพื่อสร้างกำลังใจในการพูด
   
5)  การพูดในที่ชุมชน ผู้พูดควรใช้ภาษาให้เหมาะสม ตามข้อใด
  ผู้พูดและผู้ฟัง
  ผู้พูด เนื้อเรื่องที่พูด
  บุคคล สถานที่ โอกาส
  ผู้พูด และพื้นฐานของผู้ฟัง
   
6)  คำในข้อใดไม่มีตัวสะกดอยู่ในมาตราแม่กด
  1. สัจจะ
  2. ซื่อสัตย์
  3. โอกาส
  4. ทรัพย์สิน
   
7)  เมื่อพบกันตอนเช้าควรกล่าวคำทักทายว่าอะไร
  1.กินข้าวยัง
  2.ยินดีที่รู้จัก
  3.อรุณสวัสดิ์
  4.ราตรีสวัสดิ์
   
8)  ลักษณะครอบครัวที่ดีจะต้องเป็นอย่างไร
  1. พ่อแม่ต้องแยกกันอยู่
  2. ทุกคนในบ้านติดการพนัน
  3. ลูกติดเกมส์และอินเตอร์เน็ต
  4. มีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
   
9)  การพูดแสดงความเสียใจ ควรพูดในงานใด
  งานศพ
  งานบวช
  ขึ้นบ้านใหม่
  งานแต่งงาน
   
10)  เมื่อนักเรียนเดินชนคนอื่นควรกล่าวคำว่าอะไร
  1.สวัสดีครับ/ค่ะ
  2.ขอโทษครับ/ค่ะ**
  3.ขอบคุณครับ/ค่ะ
  4.ไม่สบายครับ/ค่ะ
   
11)  ข้อใดใช้คำไทยแท้ทุกคำ
  เป็นยุคพ้นวิบัติชาติพัฒนา
  อาศัยชีพเป็นสุขทุกมวลชน
  ประเทศผองมองมิตรพิชิตผล
  พอใจให้เมืองไทยเป็นเมืองทอง
   
12)  มายาทที่ดีในการฟังและการดูคือข้อใด
  ไชโยเมื่อผู้พูดถูกใจ
  หัวเราะเมื่อผู้พูดพูดผิด
  ปรบมือเมื่อผู้พูดพูดจบ
  ลุกขึ้นถามทันทีเมื่อสงสัย
   
13)  สำนวนข้อใดเกี่ยวข้องกับการพูด
  ขวานผ่าซาก
  ชาวนากับงูเห่า
  จับปลาสองมือ
  รู้เท่าไม่ถึงการณ์
   
14)  ข้อใดเป็นประโยคบอกเล่า
  นกไม่ชอบกินผัก
  เธอมาทำอะไรที่นี่หรือ
  ธงชัยชอบเลี้ยงนกเขาชวา
  ใครไม่ได้ไปร่วมกิจกรรมวันครูบ้าง
   
15)  ประโยคในข้อใดไม่ใช่คำคล้องจอง
  น้ำร้อนปลาเป็น
  สืบสาวราวเรื่อง
  กินแหนงแคลงใจ
  ติดสอยห้อยตาม
   
16)  ประโยคในข้อใด เป็นประโยคคำถาม
  น้องจะทำอะไรก็ได้
  เธอจะเล่นกับฉันก็ได้นะ
  ฉันไม่รู้ว่เธอจะไปอย่างไร
  ใครจะอ่านหนังสือเล่มนี้บ้าง
   
17)  วรรณคดีเรื่องใดมีลักษณะพิเศษที่แสดงถึง ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยโบราณ
  1. ไกรทอง
  2. นิราศสุพรรณ
  3. ขุนช้างขุนแผน
  4. มหาชาติคำหลวง
   
18)  การเขียนจดหมายถึงนายกรัฐมนตรีต้องใช้ขึ้นต้นว่าอย่างไร
  1. เรียน
  2. กราบทูล
  3. เรียนเชิญ
  4. กราบเรียน
   
19)  แอนนาและเพื่อนๆ ช่วยกันทำงานอย่าง..........
  รุมเร้า
  อึกทึก
  เมามัน
  ขมีขมัน
   
20)  การแนะนำตัวแบบใดที่ถือว่าเป็นทางการมากที่สุด
  1. การแนะนำตัวการสนทนา
  2. การแนะนำตัวในงานเลี้ยง
  3. การแนะนำตัวกลุ่มเพื่อนใหม่
  4. การแนะนำตัวเวลาที่ไปทำกิจธุระ
   
21)  ข้อใดไม่ควรปฏิบัติกับการพูดในชุมชน
  เตรียมตัวอย่างดีก่อนพูด
  พูดอวยพรในงานแต่งงาน
  พูดเกินเวลาที่กำหนดไว้มาก
  ยกบุคคลเป็นตัวอย่างประกอบ
   
22)  ข้อใดคือลักษณะการพูดที่ดี
  พูดเสียดสีผู้อื่นตลอดเวลา
  พูดด้วยน้ำเสียงเรียบๆเสมอกัน
  พูดแล้วผู้ฟังสนใจอยากฟังจนจบ
  ผู้ภาษาไทยสลับกับพูดภาษาอังกฤษ
   
23)  การสื่อสารมีกี่รูปแบบ
  1. 2
  2. 3
  3. 4
  4. 5
   
24)  การพูดทักทายอย่างไรก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
  1. สวัสดีค่ะรอใครอยู่เอ่ย
  2. ไปไหนล่ะป้าเดินระวังหน่อยซี
  3. สวัสดีค่ะมาทำงานเป็นวันแรกเหรอคะ
  4. สวัสดีค่ะไม่เจอกันนานยังตัวดำเหมือนเดิมเลยนะคะ
   
25)  การอ่านข่าวมีหลักการพิจารณาอย่างไร
  1. อ่านเสียงดัง
  2. อ่านผ่าน ๆ ไป
  3. อ่านจับใจความสำคัญ
  4. อ่านเฉพาะหัวข้อที่ชอบ
   
26)  ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับองค์กรประกอบของการ สื่อสาร
  1. ผู้ส่งสาร
  2. ผู้รับสาร
  3. นิตยสาร
  4. สาร
   
27)  เด็กหญิงจุ๋มชอบรับประทานข้าวเหนียวส้มตำ ปลาร้าส้มชอบประเพณีบุญบั้งไฟและประเพณี ผีตาโข
  1. ภาคใต้
  2. ภาคอีสาน
  3. ภาคกลาง
  4. ภาคเหนือ
   
28)  การที่คนบางกลุ่มออกเสียงคำว่า “เต้าเจี้ยว” เป็นคำว่า “เจ้าเจี้ยว” แสดงว่าภาษามีการ เปลี่ยนแปลงอย่
  1.เกิดการผลักเสียง
  2.เกิดการกร่อนเสียง
  3.เกิดการกลมกลืนเสียง
  4.เกิดการสลับที่ของเสียง
   
29)  ครูสอนนักเรียนคำว่า “สอน”ในประโยคเป็นคำชนิดได
  1. คำกริยา
  2. คำบุพบท
  3. คำวิเศษณ์
  4. คำสรรพนาม
   
30)  ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย
  1. วางคำขยายหลังคำหลัก
  2. มีลักษณะเหมือนเสียงดนตรี
  3. มีเสียงควบกล้ำในพยัญชนะท้าย
  4. ไม่เปลี่ยนรูปคำเพื่อบอก พจน์ กาล