คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา พท32005 การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่น
1)  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
  ไกรทอง คือวรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้
  หมาขนคำ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคกลาง
  ผาแดงนางไอ่ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคอีสาน
  ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคตะวันออก
   
2)  “น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย” เป็นวรรณกรรมชนิดใด
  อุปมา
  สุภาษิต
  สำนวน
  คำพังเพย
   
3)  การพิจารณาคุณค่าวรรณคดีสิ่งใดมีความสำคัญ น้อยที่สุด
  โวหาร
  รสวรรณคดี
  ยุคสมัยของวรรณคดี
  รูปแบบของฉันทลักษณ์
   
4)  คำประพันธ์ต่อไปนี้ให้ความรู้สึกอย่างไร “นางตกใจร้องหวีดกรีดผวา หมายว่าชีวาม้วย อาสัญ ล้มลงยังพื้น
  ความกลัว
  ความตกใจ
  ความสิ้นหวัง
  ความหวาดหวั่น
   
5)  . เรื่องใดเป็นวรรณกรรมพื้นบ้านที่ใช้เป็น แบบฉบับ
  โคนันทวิศาล
  ขุนช้างขุนแผน
  พระสมุทรโฆษ
  พระสุธมนโนรา
   
6)  ในสมัยใดถือว่าเป็นยุคทองของเพลงพื้นบ้านที่ เป็นเพลงปฏิพากย์ปรากฏเป็นมหรสพในงาน พระราชพิธีและมีการส
  สมัยอยุธยา
  สมัยสุโขทัย
  สมัยกรุงธนบุรี
  สมัยรัตนโกสินทร์
   
7)  ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า “วรรณกรรมพื้นบ้าน”
  สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
  ศิลปะการใช้ภาษาของท้องถิ่น
  ความรู้สึกนึกคิดของคนในท้องถิ่น
  การแก้ปัญหาสังคมของคนในท้องถิ่น
   
8)  เรื่องใดไม่ใช่วรรณกรรมท้องถิ่น
  จินดามณี
  รามเกียรติ์
  เพชรตัดเพชร
  สังข์ทองคำกาพย์
   
9)  เด็กหญิงนิดเป็นคนขี้เหร่มาก แต่ได้หลงรักผู้ชาย คนหนึ่งจึงได้พยามปรับปรุงการแต่งตัวและแต่ง เติมหน
  ไก่่ได้พลอย
  กิ้งก่าได้ทอง
  ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
  ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง
   
10)  “สองคนนี้เขารู้จุดอ่อนและเล่ห์เหลี่ยมของกัน และกันเหมือน......นั้นแหละ” ตรงกับสำนวนใด
  เพชรตัดเพชร
  ขิงก็ราข่าก็แรง
  ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
  คอหอยกับลูกกระเดือก
   
11)  ข้อใดเป็นลักษณะวรรณกรรมพื้นบ้าน
  บทประพันธ์ใช้ภาษาเรียบง่าย
  สร้างความหวาดกลัวในบางเรื่อง
  บทประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นเรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ
  ใช้ภาษาอ่านยาก เพราะพัฒนาจากภาษา โบราณ
   
12)  วรรณกรรมท้องถิ่นทั้ง ๔ ภาค ของไทยมีความ คล้ายคลึงกันในข้อใดมากที่สุด
  คำประพันธ์เหมือนกัน
  โคลงเรื่องและเนื้อเรื่อง
  ผู้ประพันธ์เป็นคนในท้องถิ่นเดียวกัน
  ใช้ตัวอักษรเหมือนกันบันทึกงานวรรณกรรม
   
13)  ข้อใดเป็นวรรณกรรมท้องถิ่น
  นิทานอีสป
  เรื่องอิเหนา
  เพลงกล่อมเด็ก
  เรื่องอาหรับราตรี
   
14)  ข้อใดต่อไปนี้จัดอยู่ในวรรณกรรมท้องถิ่น ประเภทเขียนเป็นลายลักษณ์
  บันทึกประวัติศาสตร์
  การเขียนสำนวนโวหาร
  การเขียนพรรณาโวหาร
  การเขียนบทเพลงกล่อมเด็ก
   
15)  วรรณกรรมท้องถิ่นที่ใช้ในการถ่ายทอดโดยการ บอกเล่าหรือการร้องเช่น การเล่านิทาน หรือ ร้องเพลงกล่อ
  วรรณกรรมเล่าเรื่อง
  วรรณกรรมมุขปาฐะ
  วรรณกรรมลายลักษณ์
  วรรณกรรมกลอนละคร
   
16)  ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น คือ
  สร้างขึ้นเพื่อถวายกษัตริย์
  ใช้ภาษากลางเป็นหลัก ไม่นิยมใช้ภาษาถิ่น
  ชาวบ้านเป็นผู้รู้รักษา ใช้วรรณกรรม ท้องถิ่น
  แต่งขึ้นเพื่อยกย่องพระเกียรติกษัตริย์ เป็นสำคัญ
   
17)  ประเภทของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน แบ่งได้กี่ประเภท
  2 ประเภท
  3 ประเภท
  4 ประเภท
  5 ประเภท
   
18)  ข้อใดเป็นวรรณกรรมรูปแบบใหม่ที่ไม่เคยมี ในวรรณคดีไทย
  บทละคร
  นวนิยาย
  เรื่องเล่าสมมุติ
  ความเรียงร้อยแก้ว
   
19)  วรรณกรรมประเภท “กลอนแหล่” เป็นวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใด
  ภาคใต้
  ภาคเหนือ
  ภาคกลาง
  ภาคอีสาน
   
20)  การกระทำใดที่แสดงถึงการเห็นคุณค่าทางภูมิ ปัญญาไทยและเป็นการช่วยอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
  นำภูมิปัญญาไทยที่มีอยู่มาศึกษา และพัฒนา
  อุดหนุนสินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญา ของคนไทย
  เก็บรักษาภูมิปัญญาไทยที่มีอยู่ไว้อย่างดี ไม่มีผู้อื่นรู้
  เผยแพร่ภูมิปัญญาให้คนในชุมชน นำไปใช้ประโยชน์
   
21)  เพราะเหตุใดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยจึงเป็นยุคทองของ วรรณกรรมไทย
  ทรงให้ชำรพวรรณกรรมไทย
  ทรงสนับสนุนกวี เช่น สุนทรภู่
  ทรงให้รวบรวมวรรณกรรมไทย
  ทรงงานพระราชนิพนธ์จำนวนมาก
   
22)  ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักในการเล่านิทาน
  เพื่อเด็กจะได้อยู่บ้าน
  เพื่อให้เกิดเรื่องบันเทิงใจ
  เพื่อให้ผ่อนคลายความทุกข์ใจ
  เพื่อให้มนุษย์เกิดความโลภ โกรธ หลง
   
23)  วรรณกรรมประเภทร้อยกรองมีอะไรบ้าง
  นิทาน นิยาย นวนิยาย
  โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
  เรื่องสั้น บทละครพูด บทความ
  สารคดี ชีวประวัติ บันทึกจดหมายเหตุ
   
24)  เนื้อหาวรรณกรรมพื้นบ้านบันทึกเรื่องใด มากที่สุด
  สังคม
  เศรษฐกิจ
  เทคโนโลยี
  จารีตประเพณี
   
25)  ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของวรรณกรรมพื้นบ้าน
  ให้ความบันเทิง
  สร้างสรรค์ศิลปะใหม่
  สะท้อนประเพณีโบราณ
  แสดงประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
   
26)  การจัดทำสารานุกรมภาษาถิ่น เป็นภูมิปัญญา ประเภทใด
  ด้านศิลปกรรม
  ด้านภาษาและวรรณกรรม
  ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน
  ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
   
27)  “กำลังเราน้อย จะไปสู้เขาไหวหรือ มันทำนอง .........นะเพื่อน” ตรงกับสำนวนในข้อใด
  เกลือจิ้มเกลือ
  ไม้ซีกงัดไม้ซุง
  จอมปลวกกับภูเขา
  หิ่งห้อยแข่งแสงจันทร์
   
28)  มุ่งหวังในสิ่งที่ยังมาไม่ถึง ตรงกับสำนวนว่า อย่างไร
  สิบเบี้ยใกล้มือ
  น้ำขึ้นให้รีบตัก
  น้ำลอดใต้ทราย
  ไม่เห็นน้ำตัดกระบอก
   
29)  คำประพันธ์ต่อไปนี้มีภาพพจน์ตามข้อใด “วางรากศิลารัก สลักด้วยดวงชีวัน ขอเพียงเราอยู่คู่กัน ผูกพันตราบ
  อุปมา – อุปลักษณ์
  บุคคลวัต – อติพจน์
  อุปลักษณ์ – อติพจน์
  อุปลักษณ์ – บุคคลวัต
   
30)  จอย มีฐานะยากจนจึงโหมทำงานจนล้มป่วย แม่ของจอยจึงแนะนำให้จอยรักษาด้วยแพทย์ แผนไทย ท่านคิดว่าข้อใดค
  รักษาได้ทุกโรค
  ประหยัดค่าใช้จ่าย
  เหมาะสมกับโรคที่เป็น
  หลีกเลี่ยงการใช้ยาปลอม